บทคัดย่อ
กกกกกกกกการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อ ๑) ศึกษาสภาพการบริหารงานตามหลัก ธรรมาภิบาลของเทศบาลตำบลม่วงน้อย อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน ๒) ศึกษาเปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของเทศบาลตำบลม่วงน้อย อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน ๓) ศึกษาถึงปัญหา และข้อเสนอแนะของประชาชนในการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของเทศบาลตำบลม่วงน้อย อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน ๔) เพื่อศึกษาแนวทาง การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของเทศบาลตำบลม่วงน้อย อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน เป็นการวิจัยแบบผสมก(MixedกMethod)กระหว่างการวิจัยเชิงปริมาณก(QuantitativeกResearch) ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงสำรวจก(SurveyกResearch)กและการวิจัยเชิงคุณภาพก(Qualitativeกresearch) โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกก(In-depthกInterview)กกับผู้ให้ข้อมูลสำคัญก(KeyกInformants)กโดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือกประชาชนที่อาศัยอยู่ในเขตเทศบาลตำบลม่วงน้อยกจำนวน ๘ หมู่บ้าน ที่มีอายุ ๑๘ ปีขึ้นไป โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างตามลำดับชั้นอย่างเป็นสัดส่วนตามตารางมาตรฐาน ว่าด้วยขนาดประชากรกและขนาดกลุ่มตัวอย่างของกเครจซี่กและมอร์แกนกที่ระดับความเชื่อมั่น ๙๕ % ระดับความคลาดเคลื่อน ๕ %กจำนวนก๔,๕๖๑ คนกได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน ๓๕๗ คน วิเคราะห์ข้อมูลกโดยใช้ค่าความถี่ก(Frequency)กและค่าร้อยละก(Percentage)กค่าเฉลี่ย (Mean)กและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานก(StandardกDeviation)กการทดสอบค่า ทีก(t-test) ในกรณีตัวแปรต้นสองกลุ่มกและการทดสอบกค่าเอฟก(F-Test)กด้วยการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว (OneกwayกANOVA)กและใช้เทคนิคการวิเคราะห์เนื้อหาประกอบบริบท พร้อมวิเคราะห์โดยใช้วิธีวิจัยแบบผสมผสาน
ผลวิจัยพบว่า :
กกกกกกกก๑) ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล ของเทศบาลตำบลม่วงน้อย อำเภอป่าซางกจังหวัดลำพูน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (X̅=๓.๖๒) เมื่อพิจารณาในแต่ละด้านสามารถเรียงลำดับได้ดังนี้ ด้านหลักความคุ้มค่ามีค่าเฉลี่ย (X̅=๓.๙๘) ด้านหลักความรับผิดชอบมีค่าเฉลี่ยก(X̅=๓.๙๑) ด้านหลักความโปร่งใสมีค่าเฉลี่ย (X̅=๓.๕๓)กส่วนด้านที่มีระดับปานกลางเรียงลำดับได้ดังนี้ ด้านหลักการมีส่วนร่วมมีค่าเฉลี่ย (X̅=๓.๔๖)กด้านหลักนิติธรรม มีค่าเฉลี่ย (X̅=๓.๔๒)กและด้านหลักคุณธรรมมีค่าเฉลี่ยก(X̅=๓.๔๐)
กกกกกกกก๒) ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการบริหารงานตามหลัก ธรรมาภิบาลของเทศบาลตำบลม่วงน้อยกจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลได้แก่กเพศ,กอายุ,กการศึกษา, อาชีพกและรายได้ พบว่า ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล ของเทศบาลตำบลม่วงน้อยกไม่แตกต่างกันกจึงปฏิเสธสมมติฐานที่ตั้งไว้
กกกกกกกก๓) ปัญหากและข้อเสนอแนะกพบว่ากเจ้าหน้าที่ยังขาดหลักธรรมาภิบาล ด้านหลักคุณธรรมอยู่บ้างกควรนำหลักพุทธธรรมกเช่นกหลักสุจริตก๓กหมายถึงกกายสุจริต,กวจีสุจริตกและมโนสุจริต ไปประยุกต์ใช้เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมมากขึ้นในการบริหารงาน
กกกกกกกก๔) แนวทางการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของเทศบาลตำบลม่วงน้อยกอำเภอ ป่าซาง จังหวัดลำพูน เจ้าหน้าที่เทศบาลตำบลม่วงน้อย ควรนำหลักธรรมาภิบาลทั้ง ๖ ด้านไปปฏิบัติใช้อย่างจริงจัง เพื่อให้เกิดความเจริญก้าวหน้าในชุมชน และประเทศชาติ อย่างแท้จริง
ดาวน์โหลด
|